วันพฤหัสบดีที่ 5 มกราคม พ.ศ. 2555

คำถามบทที่ 1 โครงสร้างโลก(เตรียมสอบ)

 แบบทดสอบบทที่ 1 ( 70 ข้อ )
คำสั่ง ให้นักเรียนกาเครื่องหมาย ทับลงหน้าตัวเลขของตัวเลือกที่นักเรียนคิดว่าถูกต้องที่สุด
1. ข้อความในข้อใดไม่ถูกต้อง
2.
3.
4.
2. ข้อใดถูกต้องเกี่ยวกับระบบสุริยะ
1. , 2. ,
3.
3. โครงสร้างโลกแบ่งตามลักษณะมวลสารได้ชั้นเป็น 3 ชั้น คือ
2.
3.
4.
4. เปลือกโลกแบ่งออกเป็น 2 บริเวณ คือ
2.
3.
4.
 
5. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง
1. ธาตุซิลิคอน และซิลิกา 2. ธาตุซิลิคอน และอลูมิเนียม
3. ธาตุเหล็ก และทองแดง 4. ธาตุซิลิคอน และแมกนีเซียม
6. เปลือกโลกใต้มหาสมุทร ประกอบด้วยธาตุใดบ้าง
1. ธาตุซิลิคอน และแมกนีเซียม 2. ธาตุซิลิคอน และซิลิกา
3. ธาตุซิลิคอน และอลูมิเนียม 4. ธาตุซิลิคอน และเหล็ก
7. ชั้นเนื้อโลกส่วนบนกับชั้นเปลือกโลกรวมกันเรียกว่า อะไร
1. แมนเทิล 2. ธรณีภาค
3. ธรณีภาคพื้นทวีป 4. ธรณีภาคพื้นเปลือกโลก
8. หินหลอมละลายในชั้นเนื้อโลกเรียกว่าอะไร
1. ลาวา 2. แมกมา
3. หินหนืด 4. หินใหม่
9. ข้อใดเรียงลำดับชั้นโลกจากผิดลกไปยังศูนย์กลางได้ถูกต้อง
1. เปลือกโลก แมนเทิล เนื้อโลก
2. เปลือกโลก เนื้อโลก ก่นโลก
3. เปลือกโลก เนื้อโลก แก่นโลก
4. เปลือกโลก แก่นโลกชั้นนอก แก่นโลกชั้นใน
10. ชั้นใดของโลกที่มีความแตกต่างของลักษณะทางกายภาพมากที่สุด
1. เนื้อโลก 2. เปลือกโลก
3. แก่นโลกชั้นนอก 4. แก่นโลกชั้นใน
 
11. แก่นโลกหมายถึงข้อใด
1. ส่วนของโลกที่มีความแข็งมากที่สุด
2. ส่วนที่อยู่ชั้นในสุดของโลก
3. ส่วนที่อยู่ระหว่างชั้นเปลือกโลกกับชั้นแมนเทิล
4. ส่วนของโลกที่เกิดการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
12. แก่นโลกประกอบด้วยธาตุใดมากที่สุด
1. ธาตุเหล็ก และนิเกิล 2. ธาตุเหล็กและซิลคอน
3. ธาตุซิลิคอน และอลูมิเนียม 4. ธาตูซิลิคอน และแมกนีเซียม
13. ปัจจัยหนึ่งของโลกที่ทำให้เกิดปรากฎการณ์ธรรมชาติที่เรียกว่าแผ่นดินไหวและภูเขาไฟระเบิดได้แก่
1. ปัจจัยทางด้านกายภาพ ส่วนประกอบทางเคมี
2. ปัจจัยโครงสร้าง ส่วนประกอบภายในของโลก
3. ปัจจัยทางด้านชีวภาพ ส่วนประกอบทางเคมี
4. ข้อ 1 และข้อ 2 ถูก
14. เพราะเหตุใดบริเวณรอยต่อระหว่างแผ่นเปลือกโลกจึงมีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวมากกว่าบริเวณอื่น
1. การเคลื่อนที่ของหินหนืด
2. แรงสั่นสะเทือนของภูเขาไฟระเบิด
3. เปลือกโลกมีการเคลื่อนที่อยู่ตลอดเวลา
4. โครงสร้างของหินมีความแตกต่างกันมาก
15. . การเคลื่อนที่ของแมกมาในชั้นเนื้อโลก
. แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่เข้าชนกันหรือแยกออกจากกัน
. เปลือกโลกเกิดการกระทบกระแทกหรือเคลื่อนที่ตามแนวระดับในรูปของคลื่น
. เปลือกโลกเกิดการทรุดตัวหรือยุบตัวลง
ข้อใดเรียงลำดับกระบวนการของการเกิดแผ่นดินไหวได้ถูกต้อง
1. ®®® 2. ®®®
3. ®®® 4. ®®®
16. การเคลื่อนที่ของเปลือกโลกตามแนวระหว่างรอยต่อของแผ่นรณีภาคมีการถ่ายโอนพลังงานศักย์ให้กับชั้นหินในรูปของคลื่นอะไร
1. คลื่นแสง 2. คลื่นสั่นสะเทือน
3. คลื่นไหวสะเทือน 4. คลื่นแผ่นดินไหว
17. แผ่นดินไหวเกิดจาก
. การถ่ายเทพลังงานจากชั้นเนื้อโลก . พลังงานแผ่กระจายออกในรูปคลื่น
. จุดศูนย์เกิดแผ่นดินไหว . แผ่นเปลือกโลกเคลื่อนที่ฉับพลัน
. คลื่นความดันเคลื่อนที่แนวราบ . คลื่นความดันมาถึงรู้สึกแผ่นดินไหว
จงเรียงลำดับเหตุการณ์ที่เกิดให้ถูกต้อง
1. ®®®®® 2. ®®®®®
3. ®®®®® 4. ®®®®®
18. จุดกำเนิดการไหวสะเทือนของแผ่นดินไหวเรียกว่าอะไร
1. จุดศูนย์กลางแผ่นดินไหว 2. ศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
3. จุดกำเนิดของแผ่นเปลือกโลก 4. จุดศูนย์กลางการสั่นสะเทือนของแผ่นดิน
19. ศูนย์เกิดแผ่นดินไหวจะอยู่บริเวณใด
1. ใต้เนื้อโลก 2. ใต้เปลือกโลก
3. แก่นในเนื้อโลก 4. แก่นโลกชั้นนอก
20. ตำแหน่งบนผิวโลกที่อยู่เหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวเรียกว่าอะไร
1. จุดเหนือศูนย์กลางแผ่นดินไหว 2. จุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
3. จุดเหนือศูนย์กำเนิดแผ่นเปลือกโลก 4. จุดเหนือศูนย์การสั่นสะเทือนของ      แผ่นดิน
21. ข้อใดไม่ใช่สาเหตุของการเกิดแผ่นดินไหว
1. แผ่นปลือกโลกขยายตัวและหดตัวเท่ากัน 2. แผ่นเปลือกโลกทรุดตัวหรือยุบตัว
3. การเกิดภูเขาไฟระเบิดอย่างรุนแรง 4. การเคลื่อนที่ชนกันของแผ่นเปลือกโลก
 
22. ปรากฏการณ์ใดเกิดขึ้น เมื่อเกิดแผ่นดินไหว
1. เปลือกโลกทรุดตัวลง
2. เปลือกโลกเกิดการกระทบกระแทกตามแนวระดับ
3. เปลือกโลกเกิดการกระทบกระแทกออกไปบริเวณรอบๆในรูปของคลื่น
4. ถูกหมดทุกข้อ
23. ไซสโมกราฟ( Seismograph )คือข้อใด
1. เครื่องตรวจวัดความดังเสียง 2. เครื่องตรวจวัดความดันของร่างกาย
3. เครื่องตรวจวัดความเข้มแสง 4. เครื่องตรวจวัดคลื่นแผ่นดินไหว
24. เครื่องมือไซสโมกราฟประกอบด้วย
1. เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน และเครื่องแปลงสัญญาณคลื่นไหวสะเทือน
2. เครื่องรับคลื่นสะเทือน และเครื่องถอดรหัสสัญญาณ
3. เครื่องรับสัญญาณไฟฟ้า และเครื่องแปลงสัญญาณไฟฟ้า
4. เครื่องรับคลื่นไหวสะเทือน และเครื่องแปลงสัญญาณเสียง
25. คลื่นไหวสะเทือนแบ่งได้กี่ชนิดอะไรบ้าง
1. 2 ชนิด 1. คลื่นพื้นผิว 2. คลื่นใต้ผิว
2. 2. ชนิด 1. คลื่นปฐมภูมิ 2. คลื่นทุติยภูมิ
3. 2 ชนิด คือ 1.คลื่นในตัวกลาง 2. คลื่นพื้นผิว
4. 2 ชนิด คือ 1. คลื่นพื้นผิว 2. คลื่นใต้มหาสมุทร
26. คลื่นที่เคลื่อนแผ่กระจายเป็นวงรอบๆศูนย์เกิดแผ่นดินไหว เรียกว่าอะไร
1. คลื่นพื้นผิว 2. คลื่นปฐมภูมิ
3. คลื่นทุติยภูมิ 4. คลื่นในตัวกลาง
27. คลื่นที่เคลื่อนแผ่กระจายออกไปจากจุดเหนือศูนย์เกิดแผ่นดินไหวเรียกว่าอะไร
1. คลื่นพื้นผิว 2. คลื่นปฐมภูมิ
3.
 
28. ข้อใดกล่าวได้ถูกต้อง
1. ประเทศไทยไม่เคยมีแผ่นดินไหวเลย
2. ประเทศไทยมีแผ่นดินไหวรุนแรงเสมอๆ
3. ประเทศไทยมีแผ่นดินไหวบ้างแต่ไม่รุนแรง
4. ประเทศไทยในรอบหนึ่งร้อยปีที่ผ่านมามีแผ่นดินไหวรุนแรง
29. แผ่นดินไหวมักจะเกิดขึ้นที่บริเวณใดมาก
1. กึ่งกลางแผ่นเปลือกโลกพอดี 2. แผ่นเปลือกโลกที่อยู่ใต้มหาสมุทร
3. รอยต่อของแผ่นธรณีภาค 4. แผ่นเปลือกโลกที่บางกว่าส่วนอื่น
30. ประเทศที่มีโอกาสเกิดแผ่นดินไหวมากที่สุด เป็นประเทศที่อยู่บริเวณใด
1. บริเวณรอยต่อของทวีป 2. บริเวณที่ล้อมรอบด้วยมหาสมุทร
3. บริเวณรอยต่อของแผ่นเปลือกโลก 4. บริเวณที่ห่างไกลจากพื้นแผ่นดินใหญ่
31. วงแหวานแห่งไฟ (Ring of Fire) ได้แก่บริเวณใด
1. บริเวณรอยต่อของทวีป 2. บริเวณรอยต่อของมหาสมุทรอินเดีย
3. บริเวณขอบมหาสมุทรแปซิฟิกทั้งหมด 4. ถูกหมดทุกข้อ
32. ประเทศใดที่อยู่ในบริเวณวงแหวนแห่งไฟ
1. จีน ญี่ปุ 2. ญี่ปุ่น ฟิลิปปินส์
3. แม็กซิโก บราซิล 4. อเมริกา คิวบา
33. ข้อใดเป็นแนวรอยต่อที่สำคัญที่ทำให้เกิดแผ่นดินไหว
1. แนวรอยต่อที่เกิดล้อมรอบมหาสมุทรแปซิฟิก
2. แนวรอยต่อภูเขาไฟแอลป์ในทวีปยุโรป และภูเขาหิมาลัยในทวีปเอเชีย
3. แนวรอยต่อในบริเวณแนวสันกลางมหาสมุทรต่างๆของโลก
4. ถูกหมดทุกข้อ
 
34. ข้อใดเป็นการกำหนดขนาดของแผ่นดินไหว
1. ปริมาณการไหวสั่นสะเทือน
2. ปริมาณความเสียหายจากแผ่นดินไหว
3. ปริมาณพลังงานของการสั่นสะเทือนของแผ่นดินไหว
4. ปริมาณพลังงานที่ปลดปล่อยออกมาจากศูนย์เกิดแผ่นดินไหว
35. ขนาดของแผ่นดินไหวจะวัดกันในหน่วยใด
1. ริคเตอร์ 2. เมอร์คัลลี
3. ลูกบาศก์เมตร 4. กิโลกรัม
36. ความรุนแรงของแผ่นดินไหวจะกำหนดจากสิ่งใด
1. ขนาดของแผ่นดินที่ทรุด
2. รอยแตกหรือรอยแยกของแผ่นเปลือกโลก
3. ผลกระทบหรือความเสียหายจากแผ่นดินไหวที่เกิดบนผิวโลก ณ จุดสังเกต
4. ถูกหมดทุกข้อ
37. ความรุนแรงของแผ่นดินไหววัดด้วยมาตราใด
1. ริคเตอร์ 2. เมอร์คัลลี
3. ริชเชอร์ 4. แอมแปร์
38. แผ่นดินไหวระดับใดที่ทำให้ตัวอาคารพังเสียหาย และมีขนาดเท่าใด
1. ระดับ 11 ขนาด 8.0 – 8.9 ริคเตอร์
2. ระดับ 10 ขนาด 8.0 – 8.9 ริคเตอร์
3. ระดับ 9 ขนาด 7.0 – 7.9 ริคเตอร์
4. ระดับ 8 ขนาด 7.0 – 7.9 ริคเตอร์
39. ปัจจุบันประเทศไทยมีสถานีตรวจวัดแผ่นดินไหวอยู่กี่แห่ง
1. 9 แห่ง 2. 12 แห่ง
3. 15 แห่ง 4. 20 แห่ง
 
40. แนวรอยเลื่อนมีพลัง (active fault) หมายถึงอะไร
1. แนวรอยเลื่อนบนเปลือกโลกที่มีพลังงานศักย์
2. แนวรอยเลื่อนในชั้นเปลือกโลกที่มีการไหวสะเทือน
3. แนวรอยเลื่อนบนเปลือกโลกที่ยังสามารถเคลื่อนที่ได้
4. แนวรอยเลื่อนบนชั้นแก่นโลกที่ยังสามารถเคลื่อนที่ได้
41. ข้อใดเป็นแนวรอยเลื่อนมีพลังที่อยู่ในประเทศไทย
1. รอยเลื่อนเชียงแสน รอยเลื่อนแม่ทา
2. รอยเลื่อนศรีสวัสดิ์ รอยเลื่อนด่านเจดีย์สามองค์
3. รอยเลื่อนระนอง รอยเลื่อนคลองมะรุ่ย
4. ถูกหมดทุกข้อ
42. เขตพื้นที่เสี่ยงภัยแผ่นดินไหวของประเทศไทยอยู่บริเวณใด
1. ภาคเหนือ 2. ภาคใต้
3. ภาคกลาง 4. ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
43. คาบอุบัติซ้ำ หมายถึงอะไร
1. ระยะเวลาครบรอบของภูเขาไฟระเบิดที่เคยเกิดขึ้นแล้วกลับมาเกิดซ้ำที่เดิมอีก
2. ระยะเวลาครบรอบของแผ่นดินไหวที่เคยเกิดขึ้น ณ ที่นั้นแล้วกลับมาเกิดซ้ำที่เดิมอีก
3. ระยะเวลาของการเคลื่อนที่ของแผ่นเปลือกโลกแล้วกลับมาเกิดซ้ำอีกครั้งหนึ่ง
4. ระยะเวลาของการเคลื่อนที่ของแผ่นธรณีภาคที่เคยเกิดขึ้น ณ ที่นั้นแล้วกลับมาเกิดซ้ำที่เดิมอีก
44. ข้อความใดถูกต้อง
1. การศึกษรอยเลื่อนมีพลังทำให้ทราบถึงศูนย์กลางการเกิดแผ่นดินไหว
2. ประเทศไทยโอกาสเกิดแผ่นดินไหวมาก เนื่องจากอยู่ในแนวรอยต่อของแผ่นธรณีภาค
3. เราสามารถตรวจสอบการเกิดแผ่นดินไหวล่วงหน้าได้
4. มาตราวัดความรุนแรงของแผ่นดินไหวจะมีหน่วยเป็นริคเตอร์ แบ่งเป็น 12 ระดับ
45. พื้นที่เสียงภัยต่อการเกิดแผ่นดินไหวค่อนข้างสูงได้แก่จังหวัดใด
1. เชียงราย แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ 2. พะเยา ลำพูน ลำปาง
3. แพร่ น่าน ตาก กาญจนบุรี 4. ถูกหมดทุกข้อ
 
46. ภูเขาไฟมีสาเหตุการเกิดจากข้อใด
1. การที่เปลือกโลกได้รับผลกระทบบ่อยๆ
2. การที่พื้นผิวโลกมีอุณหภูมิเพิ่มมากยิ่งขึ้น
3. แรงอัดของแมกมาที่อยู่ใต้เปลือกโลก
4. การที่มนุษย์ระเบิดภูเขานำหินมาใช้ประโยชน์
47. เมื่อลาวาเยนตัวลงและแข็งตัวจะกลายเป็นหินชนิดใด
1. หินแกรนิต 2. หินบะซิลต์
3. หินออปซิเดียน 4. หินพัมมิช
48. การระเบิดของภูเขาไฟเกิดขึ้นจากสาเหตุใด
1. แมกมาที่อยู่ใต้ภูเขาส่งความร้อนทำให้หินในภูเขาระเบิดออกมา
2. ภูเขาไฟมีช่องว่างให้แมกมาที่อยู่ข้างใต้พุ่งขึ้นมาอย่างรวดเร็วตามช่องว่าง
3. แมกมาที่อยู่ใต้ภูเขาไฟมีแรงอัดดันสูงจนดันทะลุรอยแยกของภูเขาขึ้นมา
4. ถูกหมดทุกข้อ
49. หินหนืดที่ถูกพ่นออกมานอกผิวโลกเรียกว่า อะไร
1. แมกมา 2. ลาวา
3. หินบะซอลต์ 4. หินอัคนี
50. ข้อใดมีความสัมพันธ์กันมากที่สุด
1. แผ่นดินไหวกับภูเขาไฟระเบิด 2. เปลือกโลกเคลื่อนที่กับภูเขาไฟระเบิด
3. การยกตัวของพื้นทวีปกับภูเขาไฟระเบิด 4. อุณหภูมิบนผิวโลกสูงกับแผ่นดินไหว
51. ข้อใดกล่าวถูกต้องที่สุด
1. ลาวาที่ไหลออกจากปล่องภูเขาไฟจะเย็นตัวรวดเร็วมาก
2. ลักษะการเกิดภูเขาไฟ มีรูปแบบการเกิดที่เหมือนกัน
3. แก๊สต่างๆ ที่พุ่งออกมาจากปล่องภูเขาไฟมีอันตรายพอๆกับแก๊สที่อยู่บนผิวโลก
4. ลาวาที่ไหลไปตามผิวโลก จะขยายแผ่กว้างออกไปมากน้อยแค่ไหน ขึ้นอยู่กับความรุนแรงของการระเบิด และรูปแบบของภูเขาไฟด้วย 
52. สิ่งที่พ่นออกมาจากปล่องภูเขาไฟเมื่อภูเขาไฟระเบิด คืออะไร
1. แก๊สต่างๆ 2. ฝุ่นละอองและเศษหิน
3. ลาวาและเถ้าถ่าน 4. ถูกหมดทุกข้อ
คำสั่ง ให้ใช้ตัวเลือกข้างล่างนี้ตอบคำถามข้อ 53 – 57
1. หินทัฟฟ์ 2. หินภูเขาไฟเหลี่ยม
3. หินกรวดมนภูเขาไฟ 4. บล๊อก
53.. เถ้าภูเขาขนาด 0.06 – 2 มิลลิเมตร เมื่อแข็งตัวเป็นหิน เรียกว่า อะไร……………..
54. ชิ้นส่วนภูเขาไฟที่ขนาดใหญ่กว่า 64 มิลลิเมตร ยังไม่แข็งตัว มีลักษณะเป็นเหลี่ยม เรียกว่าอะไร………
55. จากข้อ 54 ถ้าชิ้นส่วนภูเขาไฟนั้นแข็งตัวเป็นหิน เรียกว่าอะไร………………
56. หินภูเขาไฟเหลี่ยมได้จากสารในข้อใด เมื่อแข็งตัวแล้วจะมีลักษณะเป็นหินที่มีเหลี่ยม………………..
57. บอมบ์เมื่อเย็นตัวลงและแข็งตัวจะกลายเป็นหินในข้อใด……………………..
58. หินภูเขาไฟมีลักษณะน้ำหนักเบา มีรูพรุนลอยน้ำได้ ได้แก่หินอะไร
1. หินทัฟฟ์ 2. หินพัมมิช
3. หินบะซอลต์ 4. หินกรวดมน
59. การที่ลาวาไหลผ่านเป็นบริเวณกว้าง และทับถมกันหลายชั้นเมื่อแข็งตัวจะมีภูมิลักษณ์ของภูเขาไฟเป็นอย่างไร
1. ที่ราบและเนินเขา 2. ตะกอนรูปพัด
3. ภูเขาสูงชัน 4. ภูเขาไฟรูปกรวย
60. ข้อใดเป็นลักษณะการเกิดของแบบกรวยกรวดภูเขาไฟ
1. มีขนาดเล็กที่สุด 2. มีรูปร่างกว้างเตี้ย
3. ฐานจะแผ่ขยายใหญ่ 4. เกิดจากการปะทุของหินหนืด
คลื่นทุติยภูมิ 4. คลื่นในตัวกลาง
 
คำสั่ง ให้ใช้ตัวเลือกข้างล่างนี้ตอบคำถามข้อ 61 – 64
1. ภูเขาไฟรูปโล่ 2. ภูเขาไฟรูปกรวย
3. ภูเขาไฟรูปโดม 4. ภูเขาไฟรูปแท่น
61. ภูเขาไฟที่เกิดจากลวาของหินบะซอลต์ระเบิดออกมาแบบมีท่อ ลาวาจะทับถมกันเป็นสันนูน ปล่องภูเขาไฟเล็กๆบนยอดจมลงไป ลักษณะดังกล่าว เป็นของภูเขาไฟใด………………..
62. ภูเขาไฟที่ได้จากการทับถมซ้อนกัน หรือสลับกันระหว่างการไหลของลาวากับชิ้นส่วนภูเขาไฟ ลักษณะดังกล่าว เป็นของภูเขาไฟใด……………
63. ภูเขาไฟมัวนาลัว ในหมู่เกาะฮาวาย จัดเป็นภูเขาชนิดใด……………..
64. ภูเขาไฟฟูจิยามา ในประเทศญี่ปุ่น จัดเป็นภูขาไฟชนิดใด…………………….
65. ภูเขาไฟในโลกมักเกิดขึ้นในบริเวณใด
1. แผ่นธรณีภาคมาชนกัน 2. เปลือกโลกถูกแรงบีบอักจนโก่งตัวขึ้น
3. แนวรอยแตกของเปลือกโลก 4. แนวรอยเลื่อนของแผ่นธรณีภาค
66. ภูเขาไฟรูปโล่ มีลักษณะการเกิดที่แตกต่างจากแบบอื่นมากที่สุดในข้อใด
1. บริเวณที่เกิด 2. ความสวยงาม
3. ช่วงระยะเวลา 4. การไหลของหินหนืดหรือแมกมา
67. ภูเขาไฟระเบิด อาจเกิดขึ้นที่บริเวณใดมากที่สุด
1. แนวรอยแตกของเปลือกโลก 2. แนวรอยเลื่อนของเปลือกโลก
3. บริเวณที่มีการมุดลอดเข้าไปของแผ่นธรณีภาค 4. บริเวณที่แผ่นธรณีภาคบางที่สุด
68. จังหวัดใดของประเทศไทยที่พบหลักฐาน คือ หินภูเขาไฟ แสดงว่าเคยมีภูเขาไฟระเบิด
1. ลำปางและสุรินทร์ 2. สระบุรีและศรีสะเกษ
3. ลพบุรี และกาญจนบุรี 4. ถูกหมดทุกข้อ
 
69. การคาดคะเนการเกิดภูเขาไฟระเบิด มีผลดีต่อมนุษย์อย่างไร
1. อพยพประชากรออกจากพื้นที่ล่วงหน้า
2. ลดความเสียหายจากลาวาที่พ่นออกมา
3. สามารถหาทางป้องกันล่วงหน้าอย่างเหมาะสม
4. ถูกหมดทุกข้อ
70. ข้อใดเป็นประโยชน์ของภูเขาไฟ
1. เป็นแหล่งกำเนิดอัญมณีที่มีค่าทางเศรษฐกิจ
2. เป็นแหล่งดินที่สมบูรณ์เหมาะแก่การเพาะปลูก
3. เป็นแหล่งท่องเที่ยวที่ดึงดูดให้ผู้คนไปเยี่ยมชม
4. ถูกหมดทุกข้อ
 
เฉลย
1.
4
2.
4
3.
3
4.
4
5.
2
6.
1
7.
2
8.
2
9.
2
10.
4
11.
2
12.
1
13.
4
14.
3
15.
1
16.
3
17.
1
18.
2
19.
1
20.
2
21.
1
22.
4
23.
4
24.
1
25.
3
26.
4
27.
1
28.
3
29.
3
30.
3
31.
3
32.
2
33.
4
34.
4
35.
1
36.
3
37.
2
38.
1
39.
4
40.
3
41.
4
42.
1
43.
2
44.
1
45
4
46.
3
47.
2
48.
3
49.
2
50.
1
51.
4
52.
4
53.
1
54.
4
55.
2
56.
4
57.
3
58.
2
59.
1
60.
1
61.
1
62.
2
63.
1
64.
2
65.
1
66.
4
67.
3
68.
4
69.
4
70.
4
เปลือกโลกภาคพื้นทวีป เปลือกโลกใต้มหาสมุทร
เปลือกโลกชั้นนอก เปลือกโลกชั้นใน
เปลือกโลกภาคพื้นดิน เปลือกโลกภาคพื้นน้ำ
1. เปลือกโลกภาคพื้นทวีป เปลือกโลกภาคพื้นน้ำ
ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก หินหนืด
ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก แก่นโลก
ชั้นเปลือกโลก เนื้อโลก ธรณีภาค
1. ชั้นเปลือกโลก ใต้เปลือกโลก แก่นโลก
,, 4. ,,
คำตอบที่ถูกคือ
. มีดาวเคราะห์ 9 ดวง ดาวเคราะห์น้อย ดาวหาง อุกกาบาต และดวงจันทร์ที่คจรอยู่รอบดาว เคราะห์เป็นบริวาร
. ดวงดาวที่มองเห็นด้วยตาเปล่า ล้วนเป็นบริวารของดวงอาทิตย์ทั้งสิ้น
. เป็นส่วนหนึ่งของกาแล็กซีทางช้างเผือก
. มีดวงอาทิตย์เป็นศูนย์กลาง
กฎและทฤษฎีเป็นสิ่งที่ได้รับการพิสูจน์และยอมรับแล้วว่าเป็นจริงจึงล้มเลิกไม่ได้
แนวความคิดต่างๆอาจถูกล้มเลิกได้ เมื่อมีข้อมูลใหม่ที่เชื่อถือได้มากกว่า
ทฤษฎีต่างๆอาจถูกล้มเลิกได้ เมื่อมีข้อมูลใหม่ที่เชื่อถือได้มากกว่า
1. ในปัจจุบันยังไม่สามารถสรุปได้ว่าโลกเกิดขึ้นได้อย่างไร